กระทรวงแรงงาน เตรียมเสนอ ค.ร.ม. เงื่อนไขเงินช่วยเหลือ 9 กลุ่มอาชีพ ที่ได้รับผลกระทบ CV
ประชาชนผู้เป็นแรงงานและผู้ประกอบการอ่านทางนี้ รายงานจากกระทรวงแรงงาน เปิดเผยว่า ได้เสนอข้อมูลการจ่ ายเงินเยียวย าให้กับแรงงานและผู้ประกอบการที่อยู่ในระบบประกันสังคมใน 29 จังหวัดที่ถูกประกาศล็อกดาวน์ล่ าสุด ให้สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) พิจารณา
เนื่องจากต้องใช้เงินจาก พ.ร.ก.กู้เงิน ซึ่งคาดว่าจะเสนอให้คณะรัฐมนตรี (ครม.) ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และ รมว.กล าโหม เป็นประธาน พิจารณาเห็นชอบได้สัปดาห์หน้า ไม่ทันสัปดาห์นี้ เนื่องจากเพิ่มมีการประกาศล็อกดาวน์เพิ่มเมื่อวานที่ผ่านมา
สำหรับเงื่อนไขการจ่ ายเยียวย าเหมือนเดิม คือ 9 กลุ่มอาชีพ ที่ได้รับผลกระทบตามที่ประกาศ โดยกระทรวงแรงงานเสนอให้มีการจ่ ายเยียวยาใน 13 จังหวัด ที่ถูกล็อกดาวน์ไปก่อนหน้านี้ อีก 1 เดือน จากก่อนหน้านี้จ่ ายให้เพียง 1 เดือน ใช้งบเงินกู้ประมาณ 1.5 หมื่นล้ านบ าท
สำหรับผู้ที่ได้รับเงินเยียวย า มาตรา 39 และ 40 ประมาณ 4 ล้ านคน คนละ 5,000 บ าท จะเสนอให้ ครม.เห็นชอบ ในวันที่ 10 ส.ค. นี้ และจ่ ายเงินให้วันที่ 24 ส.ค. นี้
แหล่งข่าว กล่ าวว่า สำหรับจังหวัดที่ถูกล็อกดาวน์เพิ่มล่ าสุด จะเสนอให้มีการจ่ ายเงินเยียวย าตามเงื่อนไขที่ให้กับ 13 จังหวัดที่ถูกล็อดดาวน์ก่อนหน้านี้ทุกประการ
การจ่ ายเยียวย าให้แรงงานและผู้ประกอบการ ต้องดูเดือนต่อเดือนตามมาตรการล็อกดาวน์ 13 จังหวัดแรกถูกล็อกดาวน์มาแล้ว 1 เดือน และถูกล็อกอีก 1 เดือน ก็ต้องมีการจ่ ายเงินเยียวย าเพิ่มอีก 1 เดือน สำหรับที่ถูกล็อกดาวน์เพิ่มล่ าสุดก็จะจ่ ายเยียวย าเบื้องต้น 1 เดือน หากในอนาคตรัฐบาลมีการขย ายเวล าการล็อกดาวน์ไปอีก รัฐบาลก็ต้องพิจารณาจ่ ายเยียวย าเพิ่มให้ รายงานข่าวจากกระทรวงแรงงาน
สำหรับเงื่อนไขการจ่ ายเงินเยียวแรงงานและผู้ประกอบการในจังหวัดที่ถูกล็อกดาวน์ ประกอบด้วย 9 กลุ่มอาชีพ
1 กิจการก่อสร้าง
2 กิจการที่พักแรมและบริการด้านอาหาร
3 กิจการศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ
4 กิจการบริการอื่น ๆ
5 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า
6 สาขาการขายส่งและการขายปลีก
7 สาขาการซ่อมย านยนต์
8 สาขากิจกรรมการบริหารและสนับสนุนวิชาชีพ วิทย าศาสตร์และกิจกรรมวิชาการ
9 สาขาข้อมูลข่าวสารและการศึกษา
การจ่ ายเงินเยียวย าแยกเป็น
ในระบบประกันสังคม
ผู้ประกันตน ม.33: สัญชาติไทย ประกันสังคมจ่ ายเยียวย าร้อยละ 50 ของรายได้ สูงสุดไม่เกิน 7,500 บ าท และรัฐบาลจ่ ายเพิ่มเติมให้ลูกจ้าง 2,500 บ าท/คน รวมแล้วไม่เกิน 10,000 บ าท/คน
ผู้ประกันตน ม.39 และ ม.40 : สัญชาติไทย ที่ยังประกอบอาชีพอยู่ในปัจจุบัน จะได้รับเงินช่วยเหลือ 5,000 บ าท/คน
นายจ้างและผู้ประกอบการ : จ่ ายให้นายจ้างตามจำนวนสูงสุดไม่เกิน 200 คนในอัตรา 3,000 บ าท/หัว/สถานประกอบการ
นอกระบบประกันสังคม
ผู้ประกอบอาชีพอิสระ (ไม่ได้เป็นม.33/ม.39 และ ม.40) : ให้ขึ้นทะเบียนกับประกันสังคม (ม.40) เพื่อจะได้รับเงินช่วยเหลือ 5,000 บ าท/คน นายจ้าง/ผู้ประกอบการ
กรณีที่มีลูกจ้าง : ให้ขึ้นทะเบียนกับประกันสังคม (ม.33) เพื่อผู้ประกอบการจะได้รับเงินช่วยเหลือตามจำนวนลูกจ้างสูงสุดไม่เกิน 200 คนในอัตรา 3,000 บ าท/หัว/สถานประกอบการ ขณะที่ลูกจ้างสัญชาติไทยจะได้รับเงินช่วยเหลือ 2,500 บ าท/คน
กรณีที่ไม่มีลูกจ้าง : ให้ขึ้นทะเบียนกับประกันสังคม (ม.40) จะได้รับเงินช่วยเหลือ 5,000 บ าท/คน